วันพฤหัสบดีที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2563
แบบทดสอบเรื่อง บรรจุภัณฑ์สำหรับอาหาร
1. วัสดุจากธรรมชาติในข้อใด สามารถนำมาทำบรรจุภัณฑ์ได้
ก. ก้อนหิน
ข. เมล็ดพืช
ค.รากไม้ไผ่
ง. ทางมะพร้าว
2. ข้อใดเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ทำจากใบตอง
ก. บายศรีเก้าชั้น
ข. ม้าก้านกล้วย
ค.กระทงใส่ห่อหมก
ง. กระถางปลูกพลูด่าง
3. บรรจุภัณฑ์ที่ทำลายสิ่งแวดล้อม ไม่ควรนำมาใช้ คือข้อใด
ก. กระทงใบเตย
ข. ตะกร้าใบลาน
ค. กล่องบรรจุนม
ง. กล่องโฟมแช่อาหาร
4. บรรจุภัณฑ์ มีกี่ประเภท
ก. 2 ประเภท
ข. 3 ประเภท
ค. 4 ประเภท
ง. 5 ประเภท
5. บรรจุภัณฑ์ในข้อใดที่ไม่ได้เริ่มต้นมาจากธรรมชาติ
ก. ลังไม้
ข. เปลือกไข่
ค. ฝักถั่วลันเตา
ง. กระเพาะสัตว์
6. การออกแบบบรรจุภัณฑ์ ควรคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง
ก. เอกลักษณ์ของท้องถิ่น
ข. วัสดุธรรมชาติที่มีในท้องถิ่น
ค.ศิลปะ วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ง.ถูกหมดทุกข้อ
7. กล่องกระดาษแข็งที่ไม่ใช้แล้ว ขนาด 12 X 12 นิ้ว ยังอยู่ในสภาพดี สวยงาม นักเรียนสามารถออกแบบทำบรรจุภัณฑ์ในข้อใดจึงจะเหมาะสมที่สุด
ก. กระถางปลูกต้นไม้
ข. กล่องแช่ผัก ผลไม้
ค. กล่องบรรจุอาหารแห้ง
ง. กล่องใส่หนังสือเรียน ไม้บรรทัด
8. วัสดุจากธรรมชาติในข้อใด สามารถนำมาประดิษฐ์ดอกไม้แห้ง ใส่แจกันตกแต่งบ้านได้
ก. ก้านกล้วย
ข. ใบยางพารา
ค. ดอกหญ้าคา
ง. ดอกกุหลาบมอญ
9. วัสดุจากธรรมชาติในข้อใด สามารถนำมาสานตะกร้าใส่ของได้แข็งแรง ทนทาน
ก. หวาย
ข. ใบไผ่
ค. ใบจาก
ง. ต้นตาล
10. ถ้าต้องการให้บรรจุภัณฑ์ที่นักเรียนออกแบบแตกต่างจากผู้อื่น นักเรียนต้องมีในเรื่องใด
ก. งบประมาณ
ข. วัสดุ อุปกรณ์
ค. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ง. ข้อมูลพื้นฐานของบรรจุภัณฑ์
เฉลย
1. ง
2. ค
3. ง
4. ก
5. ก
6. ง
7. ค
8. ข
9. ก
10. ค
แบบทดสอบเรื่อง วิตามินและเกลือแร่
1. แร่ธาตุ วิตามิน และน้ำมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ในเรื่องใด
ก. ช่วยให้เอนไซม์ทำงานได้ดี
ข. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการหายใจ
ค. ช่วยในการสร้างฮอร์โมน
ง. ช่วยในการสังเคราะห์สารต่างๆ
1) ข้อ ก. และ ข.
2) ข้อ ข. และ ค.
3) ข้อ ก., ค. และ ง.
4) ข้อ ข., ค. และ ง.
2. ธาตุใดพบในมอลเทส แต่ไม่พบในมอลโทส
1) คาร์บอน
2) ไนโตรเจน
3) ออกซิเจน
4) ไฮโดรเจน
3. ในขณะที่ร่างกายอ่อนเพลียมากๆ สารอาหารพวกใดที่เราควรรับประทาน เพื่อให้ร่างกายเป็นปกติในเวลาสั้นๆ เพราะเหตุใด
1) กรดอะมิโน เพราะถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสโลหิตได้เร็ว
2) กรดไขมัน เพราะเป็นสารที่ให้พลังงานสูงสุด
3) น้ำตาลกลูโคส เพราะจะถูกนำไปใช้ให้เกิดพลังงานได้เร็วกว่าอาหารอื่น
4) น้ำเกลือ เพราะเป็นสารอาหารที่ใช้ทดแทนแร่ธาตุที่สูญเสียไป
4. โครงสร้างระดับโมเลกุลของ ATP คล้ายกับโมเลกุลของสารใด
ก. นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสไพริดีน
ข. นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสพิวริน
ค. กรดอะมิโน
ง. กรดไขมัน
1) เฉพาะข้อ ก.
2) เฉพาะข้อ ข.
3) ข้อ ก. และ ค.
4) ข้อ ข. และ ง.
5. สิ่งมีชีวิตเก็บพลังงานที่ได้จากการหายใจไว้ในรูปอินทรียสารที่มีพลังงานสูงชนิดหนึ่ง โดยพลังงานจะมีค่าสูงมาก
ในพันธเคมีของสารใด
1) หมู่ฟอสเฟตกับหมู่น้ำตาลไรโบส
2) หมู่น้ำตาลไรโบสกับหมู่เบสอะดีนีน
3) หมู่เบสอะดีนีนกับหมู่ฟอสเฟต
4) หมู่ฟอสเฟตกับหมู่ฟอสเฟต
เฉลย
1. 3)
2. 2)
3. 3)
4. 2)
5. 4)
แบบทดสอบเรื่อง โปรตีน
1. กรดนิวคลีอิกอีกที่พบในเซลล์สิ่งมีชีวิตมีกี่ชนิด
1. 1 ชนิด
2. 2 ชนิด
3. 3 ชนิด
4. 4 ชนิด
2. นิวคลีโอไทด์ของดีเอ็นเอประกอบด้วยสารใดต่อไปนี้
1. น้ำตาลไรโบส N-เบส และหมู่ฟอสเฟต
2. น้ำตาลกลูโคส N-เบส และหมู่ฟอสเฟต
3. น้ำตาลดีออกซีไรโบส N-เบส และหมู่ฟอสเฟต
4. น้ำตาลดีออกซีไรโบส N-เบส และไตรกลีเซอไรด์
3. หน่วยย่อยของกรดนิวคลีอิกคืออะไร
1. กรดอะมิโน
2. กลูโคส
3. นิวคลีโอไทด์
4. กรดไขมัน
4. ธาตุที่เป็นองค์ประกอบของสารประเภทคาร์โบไฮเดรตคือข้อใด
1. ธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน
2. ธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และไนโตรเจน
3. ธาตุคาร์บอน ไนโตรเจน และออกซิเจน
4. ธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน และไนโตรเจน
5. คาร์โบไฮเดรตชนิดใดที่ร่างกายสามารถนำไปใช้ได้โดยตรง
1. น้ำตาลมอลโทส
2. น้ำตาลซูโครส
3. น้ำตาลกลูโคส
4. ไกลโคเจน
6. ไกลโคเจนซึ่งเป็นคาร์โบไฮเดรตที่สะสมอยู่ในเซลล์ของสัตว์พบมากที่ใด
1. สมองและหัวใจ
2. ตับและกล้ามเนื้อ
3. หัวใจและตับ
4. กระเพาะอาหารและลำไส้
7. ลิพิดเป็นสารชีวโมเลกุลประกอบด้วยธาตุใดบ้าง
1. ธาตุคาร์บอน ธาตุไฮโดรเจน และธาตุออกซิเจน
2. ธาตุไฮโดรเจน ธาตุออกซิเจน และธาตุไฮโดรไลซ์
3. ธาตุคาร์โบไฮเดรต ธาตุไฮโดรเจน และธาตุออกซิเจน
4. ธาตุออกซิเจน ธาตุคาร์บอน และธาตุคาร์บอนไดออกไซด์
8. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของไขมัน
1. ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
2. ช่วยให้ร่างกายอบอุ่น
3. ช่วยป้องกันการกระแทก
4. ช่วยป้องกันการสูญเสียความร้อน
9. โปรตีนเป็นพอลิเมอร์ธรรมชาติที่เกิดจากการรวมตัวของกรดอะไร
1. กรดพอลิเพปไทด์
2. กรดอะมิโน
3. กรดไดเพปไทด์
4. กรดไลซีน
10. สายพอลิเพปไทด์พันกันในลักษณะเหมือนเส้นใยสายยาวๆ เรียกว่าอะไร
1. โปรตีนขนส่ง
2. โปรตีนก้อนกลม
3. โปรตีนเส้นใย
4. โปรตีนโครงสร้าง
เฉลย
1. 2
2. 3
3. 3
4. 1
5. 3
6. 2
7. 1
8. 1
9. 2
10. 4
แบบทดสอบเรื่อง คาร์โบไฮเดรต
1. ขณะกำลังนั่งเรียนวิทยาศาสตร์ เพื่อนของนักเรียนคนหนึ่งรู้สึกอ่อนเพลียมากกำลังจะเป็นลม เพราะไม่ได้รับประทานอาหารมาตั้งแต่เมื่อเย็นวานนี้ ถ้านักเรียนมีอาหารต่อไปนี้ ควรจะเลือกอาหารชนิดใดให้เพื่อนเป็นอันดับแรก
1. นมสด
2. น้ำข้าวต้มอุ่นๆ
3. น้ำผลไม้
4. น้ำหวาน ( น้ำเชื่อม )
2. ชาย 4 คน ไปตรวจสอบน้ำตาลในปัสสาวะเพื่อตรวจหาโรคเบาหวานโดยหยดสารละลายเบเนดิกด์ลงในน้ำปัสสาวะ แล้วนำไปต้มใน้ำเดือด ผลการตรวจสอบคนที่ 1 ได้สีแดง คนที่ 2 ได้สีน้ำตาล คนที่ 3 ได้สีเขียว คนที่ 4 ได้สีเหลือง ชายคนใดกำลังเริ่มเป็นโรคเบาหวาน
1. คนที่ 1
2. คนที่ 2
3. คนที่ 3
4. คนที่ 4
3. สารชนิดหนึ่งสงสัยว่าอาจจะเป็นน้ำตาลกลูโคส หรือไม่ก็เป็นแป้งอย่างใดอย่างหนึ่ง อาจารย์จึงส่งให้นักเรียนทดสอบว่าเป็นสารอะไรแน่ นักเรียนจึงได้นำสารนั้นมาละลายน้ำแล้วแบ่งเป็น 2 หลอด หลอดที่หนึ่งใส่สารละลายเบเนดิกด์ลงไปแล้วต้ม ปรากฎว่าไม่เปลี่ยนแปลง ส่วนหลอดที
1.อุ่นสารละลายเบเนดิกต์ก่อนใส่ลงไปในสารละลายหลอดที่หนึ่ง
2. ต้มสารละลายในหลอดที่หนึ่งก่อนใส่สารละลายเบเนดิกต์ลงไป
3. ต้มสารละลายในหลอดที่สองให้เดือดก่อนเติมสารละลายไอโอดีนลงไป
4. สารละลายหลอดที่หนึ่งเมื่อใส่สารละลายเบเนดิกต์ ต้องตั้งทิ้งไว้ที่อุณหภูมิห้องอย่างน้อย 30 นาที
4. น้ำตาลที่เราใช้ประกอบอาหาร คือ
1. น้ำตาลแล็กโตส
2. น้ำตาลซูโครส
3. น้ำตาลกลูโคส
4. น้ำตาลมอลโทส
5. น้ำตาลที่พบในผลไม้คือ
1. ฟรักโทส
2. กลูโคส
3. กาแล็กโทส
4. มอลโทส
เฉลย
1. 3)
2. 2)
3. 3)
4. 2)
5. 1)
แบบทดสอบเรื่อง ไขมันและน้ำมัน
1. A B และ C เป็นกรดไขมัน เมื่อนำมาหาจุดหลอมเหลว ปรากฏว่า A หลอมเหลวที่อุณหภูมิสูงกว่า B B สูงกว่า C จากการทดลองนี้แสดงว่า
1. A B และ C เป็นกรดไขมันชนิดอิ่มตัว
2. A B และ C เป็นกรดไขมันชนิดไม่อิ่มตัว
3. A มีจำนวนอะตอมของคาร์บอนมากกว่า C
4. A B และ C เป็นกรดไขมันชนิดอิ่มตัวและไม่อิ่มตัวก็ได้
2. การผลิตเนยเทียมหรือมาร์การีนจากน้ำมันพืชที่มีกรดไขมันชนิดใดไม่อิ่มตัวเป็นองค์ประกอบทำอย่างไร
1. ผสมน้ำมันพืชกับด่าง
2. ผสมน้ำมันพืชกับโปรตีน
3. เติมไฮโดรเจนให้กับน้ำมันพืช
4. เติมออกซิเจนให้กับน้ำมันพืช
3. ก ข และ ค เป็นกรดไขมัน 3 ชนิด ที่มีจุดหลอมเหลวเรียงจากมากไปน้อย คือ ก ข และ ค ตามลำดับข้อสรุปใดต่อไปนี้ถูกต้องที่สุด
1. ทั้ง ก ข และ ค เป็นกรดไขมันชนิดอิ่มตัว
2. ทั้ง ก ข และ ค เป็นกรดไขมันชนิดไม่อิ่มตัว
3. ก มีจำนวนอะตอมของคาร์บอนในโมเลกุลมากที่สุด
4. ค มีจำนวนอะตอมของไฮโดรเจนในโมเลกุลน้อยที่สุด
4. หน่วยย่อยของไขมันคืออะไร
1. กรดไขมัน
2. กลูโคส
3. ไลปิด
4. กรดไขมัน และกลีเซอรอล
5. วิตามินที่ละลายในไขมัน คือ
1. C และ D
2. A D E และ K
3. B และ C
4. B5 และ B2
เฉลย
1. 4)
2. 3)
3. 4)
4. 4)
5. 2)
แบบทดสอบเรื่อง การละลายของสารในน้ำ
1. น้ำเป็นสารประกอบที่มีสูตรโมเลกุลคือ ?
1. H2OO 2. H22O 3. H2O 4. H2HO
2. สมบัติทางกายภาพของน้ำ
1. ไม่มีรส มีสี มีกลิ่นมีรส
2. มีรส ไม่มีกลิ่น มีสี
3.ไม่มีรส มีกลิ่น ไม่มีสี
4.ไม่มีรส ไม่มีกลิ่น ไม่มีสี
3. H20 ประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจน 2 อะตอม และออกซิเจน 1 อะตอมยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะใด ?
1. Ionic Bond
2. Cavalant Bond
3. Metallic Bond
4. Covalent Bond
4. น้ำในแหล่งน้ำธรรมชาติเป็นน้ำที่ไม่บริสุทธิ์มีสารเจือปนซึ่งอาจจะเป็น สารโคเวเลนต์ และสารที่อยู่ในรูปของไอออน คำถามถามว่าสารที่อยู่ในรูปของไอออนที่มีปริมาณมากในน้ำทะเลคือสารใด ?
1. คลอไรด์ไอออน ซัลเฟตไอออน
2. แคลเซียมไอออน โซเดียมไอออน
3. คลอไรด์ไอออน โซเดียมไอออน
4. โพแทสเซียมไอออน โซเดียมไอออน
5. การละลายของสารในน้ำเกิดขึ้นเมื่อใด ?
1. เมื่ออะตอมของน้ำเข้าไปแทรกระหว่างโมเลกุลหรือไอออนของตัวละลายได้สารผสมที่ เป็นสารเนื้อเดียว
2. เมื่อโมเลกุลของน้ำเข้าไปแทรกระหว่างโมเลกุลหรือไอออนของตัวละลายได้สารผสมที่ เป็นสารเนื้อเดียว
3. เมื่อโมเลกุลของน้ำเข้าไปแทรกระหว่างโมเลกุลหรือไอออนของตัวละลายได้สารผสมที่ เป็นสารเนื้อผสม
4. เมื่ออะตอมของน้ำเข้าไปแทรกระหว่างโมเลกุลหรือไอออนของตัวละลายได้สารผสมที่ เป็นสารแขวนลอย
เฉลย
1. 3) ไม่มีรส ไม่มีกลิ่น ไม่มีสี
2. 4) ไม่มีรส ไม่มีกลิ่น ไม่มีสี
3. 4) Covalent Bond
4. 3)คลอไรด์ไอออน โซเดียมไอออน
5. 2)เมื่อโมเลกุลของน้ำเข้าไปแทรกระหว่างโมเลกุลหรือไอออนของตัวละลายได้สารผสมที่เป็นสารเนื้อ
เดียว
แบบทดสอบเรื่อง สารในแหล่งน้ำธรรมชาติ
1. ทรัพยากรธรรมชาติข้อใดไม่จัดอยู่ในประเภท เดียวกัน
1. อากาศ แสงอาทิตย์ 2. พืช ป่าไม้
3. ถ่ายหิน แก๊สธรรมชาติ 4. ดิน น้ำมันปิโตเลียม
2. ข้อใดจัดเป็นหยาดน้ำฟ้า
1. แม่น้ำ ทะเล 2. น้ำบาดาล น้ำบ่อ
3. น้ำฝน น้ำค้าง 4. ลำคลอง มหาสมุทร
3. โรงงานอุสาหกรรมก่อให้เกิดผลกระทบต่อแหล่งน้ำ อย่างไร
1. แหล่งน้ำมีกลิ่นเหม็น 2. แหล่งน้ำมีอุณหภูมิสูง
3. เกิดการสะสมสารพิษในโซ่อาหารในแหล่ง 4. ถูกต้องทุกข้อ
4. สารใดเป็นดัชบ่งชี้ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ำโดย วิธีการไทเทรต (titration)
1. สารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์ (KI) 2. สารละลายแมงกานีสซัสซัลเฟต (MnSO4)
3. สารละลายโซเดียมไธโอซัลเฟต (Na2S2O3) 4. สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซต์ (NaOH)
ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ 5 - 6
นำตัวอย่างน้ำจากสระแห่งหนึ่งปริมาณ 200 ลูกบาศก์เซนติเมตร นำมาหาปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ำโดยใช้วิธีไทเทรตพบว่าใช้สารละลายน้ำ Na2S2O3 ความเข้มข้น 0.01 โมลต่อลิตร ปริมาตร 5 ลูกบาศก์เซนติเมตร ในการไทเทรตจนตัวอย่างน้ำไม่ มีสี
5. ค่าดีโอในสระน้ำมีค่าเท่าใด
1. 1 mg/l 2. 2 mg/l
3. 3 mg/l 4. 4 mg/l
6. น้ำในสระมีคุณภาพน้ำอย่างไร
1. น้ำสะอาดมาก 2. น้ำเสีย
3. น้ำสะอาด 4. น้ำบริสุทธิ์
7. BOD (biochemical oxygen demand) คือข้อใด
1. ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ำ ซึ้งสิ่งมีชีวิตใน น้ำใช้ดำรงชีวิต
2. ปริมาณออกซิเจนที่ละลายได้รับจากกระบวน การน้ำ ซึ้งสังเคราะห์ด้วยแสงของสิ่งมีชีวิตใน น้ำ
3. ปริมาณออกซิเจนที่แบคทีเรียต้องการเพื่อใช้ใน ปฏิกิริยาย่อยสลายสารอินทรีย์ในน้ำ
4. ปริมาณออกซิเจนที่แบคทีเรียต้องการเพื่อใช้ใน ปฏิกิริยาย่อยสลายสารอนินทรีย์ในน้ำ
8. ข้อใดแสดงค่า BOD5 ของน้ำบริสุทธิ์
1. BOD5 = 0 2. BOD5 = 1
3. BOD5 = 2 4. BOD5 = 3
9. ข้อใดคือความหมายของน้ำเสีย (wastewater)
1. ของเสียที่อยู่ในสภาพของเหลวที่ได้รับการ บำบัดแล้ว
2. ของเสียที่อยู่ในสภาพเหลวที่ได้รับการ บำบัดแล้ว หรือไม่ได้รับการบำบัด
3. ของเสียที่อยู่ในสภาพเหลวรวมทั้งมลสารที่ ปะปนหรือปนเปื้อนอยู่ในของเหลวนั้น
4. ถูกทั้งข้อ ข. และ ค.
10. ข้อใดไม่จัดเป็นน้ำเสีย
1. BOD5 = 15 mg/l 2. DO > 3 mg/l
3. แบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด > 2,000 MPN/100 ml
4. ค่า pH = 10
เฉลย
1. 4)
2. 3)
3. 4)
4. 3)
5. 2)
6. 2)
7. 3)
8. 1)
9. 3)
10. 2)
แบบทดสอบเรื่อง โมเลกุลของน้ำ
1. ข้อใดถูกต้อง
ก. ธาตุสองชนิดขึ้นไปมาผสมกัน ต้องได้สารประกอบเสมอ
ข. ธาตุอาจเป็นสารเนื้อเดียวกัน หรือสารเนื้อผสมก็ได้
ค. ธาตุสามารถแยกเป็นองค์ประกอบย่อยได้อีก
ง. ในภาวะปกติ ธาตุมีได้ทั้ง 3 สถานะ
2. ข้อใดเป็นธาตุทั้งหมด
ก. เหล็ก อากาศ ทองคำ
ข. ไฮโดรเจน คาร์บอน นิเกิล
ค. พลวง ปรอท แอลกอฮอล์
ง. กำมะถัน ด่างทับทิม ปรอท
3. ข้อใดต่อไปนี้ จัดเป็นธาตุทั้งหมด
ก. CO2 NO2 O2 H2
ข. H2O He Na Cl2
ค. Mg N2 Br2 O2
ง. K Mg Be CO
จงพิจารณาข้อมูลต่อไปนี้แล้วตอบคำถามข้อ 4-5
ธาตุ A มีสมบัตินำไฟฟ้าไม่ได้, มีสถานะก๊าซ
ธาตุ B มีสมบัตินำไฟฟ้าได้, ผิวเป็นมันวาว
ธาตุ C มีสมบัตินำไฟฟ้าไม่ได้, เปราะ
ธาตุ D มีสมบัตินำไฟฟ้าได้, เปราะ
4. ธาตุใดเป็นโลหะ
ก. A
ข. B
ค. C
ง. D
5. ธาตุใดเป็นกึ่งโลหะ
ก. A
ข. B
ค. C
ง. D
6. ธาตุในข้อใด เป็นโลหะทั้งหมด
ก. Li Al P
ข. Al B Zi
ค. Na Mg C
ง. Zn Ag Na
7. ข้อใดเป็นสัญลักษณ์ของธาตุทองคำ
ก. Cu
ข. Ag
ค. Au
ง. Ga
8. อนุภาคที่เล็กที่สุดของสสารเรียกว่าอะไร
ก. ธาตุ
ข. อะตอม
ค. โมเลกุล
ง. สารประกอบ
9. อนุภาคมูลฐานของธาตุ คือข้อใด
ก. โปรตอน และนิวตรอน
ข. โปรตอน และอิเล็กตรอน
ค. นิวตรอน และอิเล็กตรอน
ง. โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน
10. โมเลกุลของ H3PO4 กับ C2H6O มีจำนวนอะตอมแตกต่างกันกี่อะตอม
ก. 1 อะตอม
ข. 2 อะตอม
ค. 3 อะตอม
ง. 4 อะตอม
เฉลย
1) ง.
2) ข.
3) ค.
4) ข.
5) ง.
6) ง.
7) ค.
8) ข.
9) ง.
10) ก.
แบบทดสอบเรื่อง มลพิษทางอากาศ
1.มลภาวะหมายถึง
ก. ภาวะสภาพของสิ่งมีชีวิต
ข. ภาวะสภาพแวดล้อม
ค. ภาวะทางเสียง
ง. ภาวะที่เกิดกับมนุษย์
ตอบ ข. ภาวะสภาพแวดล้อม
2.การเผาขยะทำให้เกิดมลพิษประเภทใด
ก. มลภาวะทางอากาศ
ข. มลภาวะต่อดิน
ค. มลภาวะทางเดินหายใจ
ง. มลภาวะต่อคน
ตอบ ก.มลภาวะทางอากาศ
3.ข้อใดเป็นมลพิษทางเสียงที่เป็นอันตรายมากที่สุด
ก. เสียงเครื่องบิน
ข. เสียงรถไฟ
ค. วงดนตรีร็อค
ง. โรงงานผลิตอลูมิเนียม
ตอบ ก.เสียงเครื่องบิน
4.ขยะประเภทใดที่จัดเป็นขยะอันตรายส่วนล่างของฟอร์ม
ก. ผักเน่า
ข.โลหะ
ค. หลอดไฟฟ้า
ง. พลาสติก
ตอบ ค. หลอดไฟฟ้า
5.ข้อใดเป็นวิธีกำจัดขยะที่ไม่สร้างมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม
ก. เผาในที่เผาขยะ
ข. ทิ้งในถังขยะ
ค. นำขยะเปียกไปหมักทำปุ๋ย
ง. นำไปขาย
ตอบ ค. นำขยะเปียกไปหมักทำปุ๋ย
6.ของเสียอันตราย” หมายถึงข้อใด
ก. ยาฆ่าแมลง
ข. ขยะเปียก
ค. ขวดพลาสติก
ง. กระป๋องแป้ง
ตอบ ก.ยาฆ่าแมลง
7.ข้อใดเป็นขยะรีไซเคิล
ก. ขวดแก้ว
ข. ถุงพลาสติก
ค. ขวดพลาสติก
ง. กล่องโฟม
ตอบ ค. ขวดพลาสติก
8.ข้อใดที่ทำให้เกิดเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดมลพิษทางอากาศ
ก. การทิ้งขยะมูลฝอย
ข. การสูบบุหรี่
ค. การใช้ยาฆ่าแมลง
ง. ถูกทุกท้อ
ตอบ ง. ถูกทุกท้อ
9.เหตุใดในปัจจุบันมีมลพิษทางอากาศเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ
ก. คนในสังคมมีฐานะดีขึ้น
ข. ปริมาณประชากรที่สูงขึ้น
ค. ความเจริญทางเศรษฐกิจเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ค. ความเจริญทางเศรษฐกิจเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว
10.มลพิษทางอากาศหมายถึงอะไร
ก. อากาศที่ไม่บริสุทธิ์
ข. อากาศที่มีสารปะปนอยู่ในระดับที่สูงกว่าปกติ
ค. สารพิษที่เป็นอันตรายที่อยู่ในอากาศ
ง. อากาศที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย
ตอบ ข. อากาศที่มีสารปะปนอยู่ในระดับที่สูงกว่าปกติ
แบบทดสอบเรื่อง การใช้ประโยชน์จากอากาศ
1. กาลอากาศ หมายถึงอะไร
1.อากาศทั้งหมดที่ห่อหุ้มโลกของเราไว้
2.การเกิดลมพายุเนื่องจากจากเปลี่ยนแปลงความกดดันของอากาศ
3.เกณฑ์เฉลี่ยของอากาศในที่แห่งใดแห่งหนึ่ง ในช่วงเวลาพอสมควร
4.สภาวะของอากาศในที่แห่งใดแห่งหนึ่งในช่วงเวลาอันจำกัดซึ่งไม่ยาวนัก
2. ข้อใดไม่ใช่ ประโยชน์ของบรรยากาศที่หุ้มห่อโลก
1.ช่วยกั้นรังสีคลื่นสั้น
2.ช่วยกรองรังสีอัลตราไวโอเลต
3.ดูดกลืนและทำลายวัตถุที่พุ่งเข้าหาโลก
4.ช่วยลดความร้อนให้แก่บรรยากาศบนโลก
3. ส่วนประกอบของอากาศที่มีปริมาณมากที่สุด คืออะไร
1.ก๊าซอาร์กอน
2.ก๊าซออกซิเจน
3.ก๊าซไนโตรเจน
4.ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
4. ส่วนประกอบของอากาศในข้อใดมีสถานะเป็นของแข็ง
1.อาร์กอน
2.ออกซิเจน
3.ไฮโดรเจน
4.ฝุ่นละออง
5. บรรยากาศชั้นที่มีความแปรปรวนตลอดเวลา คือข้อใด
1.เอกโซสเฟียร์
2.โทรโพสเฟียร์
3.สตราโตสเฟียร์
4.ไอโอโนสเฟียร์
6. ข้อใดเป็นความสัมพันธ์ระหว่างความดันอากาศกับความหนาแน่นอากาศ
1.ความดันมาก ความหนาแน่นมาก
2.ความดันมาก ความหนาแน่นน้อย
3.ความดันน้อย ความหนาแน่นมาก
4.ความดันคงที่ ความหนาแน่นน้อย
7. อากาศมวลขนาดหนึ่ง เมื่อเคลื่อนที่ตามแนวดิ่งสูงขึ้นไปจากระดับน้ำทะเลจะเกิดการเปลี่ยนแปลงตามข้อใด
1.ปริมาตรลดลง อุณหภูมิลดลง
2.ปริมาตรลดลง อุณหภูมิสูงขึ้น
3.ปริมาตรเพิ่มขึ้น อุณหภูมิลดลง
4.ปริมาตรเพิ่มขึ้น อุณหภูมิสูงขึ้น
8. ปัจจัยใดที่เป็นสาเหตุทำให้บรรยากาศเกิดการเปลี่ยนแปลง
1.ลม และพายุ
2.ลมและอุณหภูมิ
3.ลมและความกดดัน
4.อุณหภูมิและความกดดัน
9. เพราะเหตุใดก่อนฝนตกบรรยากาศเหนือพื้นดินจึงรู้สึกร้อนอบอ้าว
1.พื้นดินคายความร้อน
2.พื้นน้ำคายความร้อนแฝง
3.เม็ดฝนคายความร้อนแฝง
4.ก้อนเมฆคายความร้อนแฝง
10. บริเวณที่มีความกดอากาศต่ำ การเคลื่อนที่ของลมจะตรงกับข้อใด
1.พัดเวียนเข้าหาศูนย์กลางตามเข็มนาฬิกา
2.พัดเวียนเข้าหาศูนย์กลางทวนเข็มนาฬิกา
3.พัดเวียนออกจากศูนย์กลางตามเข็มนาฬิกา
4.พัดเวียนออกจากศูนย์กลางทวนเข็มนาฬิกา
เฉลย
1. สภาวะของอากาศในที่แห่งใดแห่งหนึ่งในช่วงเวลาอันจำกัดซึ่งไม่ยาวนัก
2. ช่วยกั้นรังสีคลื่นสั้น
3. ก๊าซไนโตรเจน
4. ฝุ่นละออง
5. โทรโพสเฟียร์
6. ความดันมาก ความหนาแน่นมาก
7. ปริมาตรเพิ่มขึ้น อุณหภูมิสูงขึ้น
8. ลมและอุณหภูมิ
9. ก้อนเมฆคายความร้อนแฝง
10. พัดเวียนออกจากศูนย์กลางตามเข็มนาฬิกา
แบบทดสอบเรื่อง ธาตุ
1. ข้อใดกล่าวถึงธาตุไม่ถูกต้อง
1. เป็นสารบริสุทธิ์
2. สามารถแยกสลายไปเป็นสารอื่นได้อีก
3. ธาตุแต่ละชนิดมีสมบัติเฉพาะตัวของธาตุ
4. ธาตุบางชนิดเกิดจากการสังเคราะห์
2. ข้อใดจัดเป็นธาตุทั้งหมด
1. ออกซิเจน น้ำ ปรอท
2. เหล็ก ไฮโดรเจน เกลือ
3. เพชร เหล็ก พลวง
4. ซูโครส ไอโอดีน ไฮโดรเจน
3. ในธรรมชาติมีธาตุใดมากที่สุด
1.ออกซิเจน
2.ซิลิคอน
3.ไฮโดรเจน
4.เหล็ก
4. ธาตุใดเป็นโลหะ
1.ไนโตรเจน
2.โบรอน
3.ฮีเลียม
4.โซเดียม
5. ธาตุใดเป็นอโลหะ
แคลเซียม
โคบอลต์
ไอโอดีน
พลวง
6. ข้อใดที่มีชื่อธาตและสัญลักษณะของธาตุไม่สอดคล้องกัน
1.P-โพแทสเซียม
2. Al-อะลูมิเนียม
3.Ag-เงิน
4.Na-โซเีดียม
7. Ca , C และ Cl สัญลักษณ์ของธาตุดังกล่าวเป็นของธาตุใด ตามลำดับ
1. คาร์บอน แคลเซียม คลอรีน
2.คาร์บอน คลอรีน แคลเซียม
3.แคลเซียม คลอรีน คาร์บอน
4.แคลเซียม คาร์บอน คลอรีน
8. หน่วยที่เล็กที่สุดของธาตุเรียกว่าอะตอม ใครคือผู้ค้นพบอะตอม
1.โจเซฟ จอห์น ทอมสัน
2.จอห์น ดอลตัน
3.รัทเทอรฟอร์ด
4.นีลส์ โบร์
9. อนุภาคมูลฐานของอะตอมที่มีประจุไฟฟ้าเป็นลบคือข้อใด
1.โปรตอน
2.นิวตรอน
3.อิเล็กตรอน
4.นิวเคลียส
10. ภายในนิวเคลียสของอะตอมประกอบด้วยอะไรบ้าง
1.โปรตอนและนิวตรอน
2.อิเล็กตรอนและโปรตอน
3.นิวตรอนและอิเล็กตรอน
4.โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน
เฉลย
1. 2. สามารถแยกสลายไปเป็นสารอื่นได้อีก
2. 2. เพชร-เหล็ก-พลวง
3. 1. ออกซิเจน
4. 4. โซเดียม
5. 3. ไอโอดีน
6. 1 .P-โพแทสเซียม
7. 4. แคลเซียม-คาร์บอน-คลอรีน
8. 2. จอห์น_ดอลตัน
9. 3. อิเล็กตรอน
10. 1. โปรตอนและนิวตรอน
แบบทดสอบเรื่อง อะตอม
1. จากผลการทดลองของทอมสัน ทำให้ทอมสันได้ข้อมูลเกี่ยวกับอะตอมมากขึ้นเขาจึงเสนอแบบจำลองอะตอมว่าอย่างไร
แบบทดสอบเรื่อง องค์ประกอบอากาศ
1) ในอากาศมีแก๊สชนิดใดอยู่มากที่สุด
ก. ออกซิเจน
ข. ไนโตรเจน
ค. ไฮโดรเจน
ง. คาร์บอนไดออกไซด์
2) การที่กังหันหมุนได้แสดงถึงสมบัติข้อใดของอากาศ
ก. อากาศมีน้ำหนัก
ข. อากาศมีตัวตน
ค. อากาสมีแรงดัน
ง. อากาศมีอุณหภูมิ
3) การคมนาคมทางอากาศจะเดินทางที่ชั้นใดของบรรยากาศ
ก. โทรโพสเฟียร์
ข. สตราโตสเฟียร์
ค. ไอโอโนสเฟียร์
ง. เอกโซสเฟียร์
4) เครื่องมือที่ใช้วัดความดันของมวลอากาศคือชนิดใด
ก. เทอร์มอมิเตอร์
ข. บารอมิเตอร์
ค. ไฮโกรมิเตอร์
ง. แอลติมิเตอร์
5) แก๊สโอโซนในชั้นบรรยากาศมีประโยชน์อย่างไร
ก. ช่วยสังเคราะห์สาร CFC ขึ้นในอากาศ
ข. ดูดกลืนรังสีอินฟาเรดที่ทำให้โลกร้อน
ค. ดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตที่เป็นสาเหตุของโรคมะเร็งผิวหนัง
ง. ทำให้อากาศในโลกบริสุทธิ์เพื่อห่าเชื้อโรคต่าง ๆ
6. ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส มีปริมาณไอน้ำอยู่ 130 กรัมต่อลูกบาศก์เมตร ถ้าอากาศอิ่มตัวมีไอน้ำ 200 กรัมต่อลูกบาศก์ อากาศ ขณะนั้นมีความชื้นสัมพัทธ์เท่าไร
ก. 60 %
ข. 65 %
ค. 70 %
ง. 75 %
7). อ่านอุณหภูมิของเทอร์มอมิเตอร์กระเปาะแห้งได้ 28 องศาเซลเซียส อ่านอุณหภูมิของเทอร์มอมิเตอร์ กระเปาะเปียกได้ 24องศา เซลเซียส ค่าความชื้นสัมพัทธ์เป็นเท่าใด
ก. 62 %
ข. 68 %
ค. 71 %
ง. 74 %
8). ห้องน้ำหนึ่งกว้าง 3 เมตร ยาว 3 เมตร สูง 2.5 เมตร ถ้าห้องนี้มีความหนาแน่นของอากาศ 1.1 กิโลกรัมต่อ ลูกบาสก์เมตร จะมีไอน้ำกระจายอยู่ในห้องนี้เท่าไร
ก. 11.25 กิโลกรัม
ข. 22.50 กิโลกรัม
ค. 24.75 กิโลกรัม
ง. 32.18 กิโลกรัม
9). ลมพายุที่พัดผ่านบริเวณต่าง ๆ แล้วทำให้ฝนตกเสมอคือพายุชนิดใด
ก. ไซโคลน
ข. เฮอร์ริเคน
ค. ทอร์นาโด
ง. ดีเปรสชัน
10). การเกิดลมเกิดจากความแตกต่างของสองบริเวณในเรื่องใด
ก. ความหนาแน่นของอากาศ
ข. อุณหภูมิของอากาศ
ค. ความชื้นของอากาศ
ง. ความดันของอากาศ
เฉลย
1. ข.ไนโตรเจน
2. ค. อากาศมีแรงดัน
3. ข. สตราโตสเฟียร์
4. ข. บารอมิเตอร์
5. ค. ดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตที่เป็นสาเหตุของโรคมะเร็งผิวหนัง
6. ข. 65%
7. ค. 71%
8. ค. 24.75 กิโลกรัม
9. ง. ดีเปรสชัน
10.ข. อุณภูมิของอากาศ